อักษรโฑครี
หน้าตา
อักษรโฑครี 𑠝𑠢𑠳𑠷 𑠖𑠵𑠌𑠤𑠬 𑠀𑠊𑠹𑠋𑠤 | |
---|---|
ชนิด | |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภูมิภาค | ชัมมู |
ภาษาพูด | โฑครี |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | ชุดตัวอักษรไซนายดั้งเดิม ? [a]
|
ระบบพี่น้อง | อักษรฏากรี, อักษรคุรมุขี |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Dogr (328), Dogra |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Dogra |
ช่วงยูนิโคด | U+11800–U+1184F |
อักษรโฑครี (डोगरी, ḍogrī) มีอีกชื่อว่า นาเมโฑคราอักขร (โฑครี: नमें डोगरा अक्खर, ISO: Namēṁ Ḍōgrā Akkhar, สัทอักษร: [nəmẽː ɖoːgɾaː əkːʱəɾ]) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาโฑครีในชัมมูและกัศมีร์ทางตอนเหนือของอนุทวีปอินเดีย[1]
ประวัติ
[แก้]อักษรโฑครีได้รับการประดิษฐ์ขึ้นตามคำสั่งของมหาราชา รณพีร์ สิงห์ แห่งชัมมูและกัศมีร์[2] โดยเป็นอักษรที่ดัดแปลงจากโฑคราอักขรเก่าที่เป็นอักษรฏากรีรูปแบบชัมมู
ความพยายามในการฟื้นฟู
[แก้]มีการจัดตั้งป้ายในอักษรโฑครีขึ้นที่สถานีรถไฟชัมมูตาวี[3] อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันภาษาโฑครีได้ใช้อักษรเทวนาครีแทนอย่างเป็นทางการแล้ว[4]
ยูนิโคด
[แก้]อักษรโฑครีได้รับการบรรจุลงในบล็อกยูนิโคดของยูนิโคดเมื่อเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2018 (รุ่น 11.0).[5]
บล็อกยูนิโคดนี้มีชื่อว่า โฑครา ซึ่งอยู่จุดที่ U+11800–U+1184F และมี 60 อักษร:
โฑครา[1][2] Official Unicode Consortium code chart (PDF) | ||||||||||||||||
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | A | B | C | D | E | F | |
U+1180x | 𑠀 | 𑠁 | 𑠂 | 𑠃 | 𑠄 | 𑠅 | 𑠆 | 𑠇 | 𑠈 | 𑠉 | 𑠊 | 𑠋 | 𑠌 | 𑠍 | 𑠎 | 𑠏 |
U+1181x | 𑠐 | 𑠑 | 𑠒 | 𑠓 | 𑠔 | 𑠕 | 𑠖 | 𑠗 | 𑠘 | 𑠙 | 𑠚 | 𑠛 | 𑠜 | 𑠝 | 𑠞 | 𑠟 |
U+1182x | 𑠠 | 𑠡 | 𑠢 | 𑠣 | 𑠤 | 𑠥 | 𑠦 | 𑠧 | 𑠨 | 𑠩 | 𑠪 | 𑠫 | 𑠬 | 𑠭 | 𑠮 | 𑠯 |
U+1183x | 𑠰 | 𑠱 | 𑠲 | 𑠳 | 𑠴 | 𑠵 | 𑠶 | 𑠷 | 𑠸 | 𑠹 | 𑠺 | 𑠻 | ||||
U+1184x | ||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Pandey, Anshuman (2015-11-04). "L2/15-234R: Proposal to encode the Dogra script" (PDF).
- ↑ Gupta, Veena (2020). Dogri Vyakaran (ภาษาโฑครี) (5th ed.). Bari Brahmana, Jammu: J&K Academy of Art, Culture & Languages.
- ↑ SNS (2018-05-04). "Dogri script finds place on signposts at Jammu railway station". The Statesman (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2022-10-20.
- ↑ Masica (1993) p.144
- ↑ "Unicode 11.0.0". Unicode Consortium. June 5, 2018. สืบค้นเมื่อ June 5, 2018.