อักษรบาตัก - วิกิพีเดีย ข้ามไปเนื้อหา

อักษรบาตัก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซูรัตบาตัก
ᯘᯮᯒᯖ᯲ ᯅᯖᯂ᯲
"ซูรัตบาตัก" ในแบบโตบา
ชนิด
ช่วงยุค
ประมาณ ค.ศ. 1300-ปัจจุบัน
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูดกลุ่มภาษาบาตัก
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ต้นกำเนิดอักษรพราหมียังไม่เป็นที่กระจ่าง ตามสันนิษฐานต้นกำเนิดแอราเมอิก: ชุดตัวอักษรไซนายดั้งเดิม
ระบบพี่น้อง
ความสัมพันธ์ทางภาษาโดยตรงยังไม่ชัด ใช้สันนิษฐานจากต้นกำเนิดอักษรกวิทั่วไป:
บาหลี
ไบบายิน
ชวา
ลนตารา
มากาซาร์
ซุนดาเก่า
เรินจง
เรอจัง
ISO 15924
ISO 15924Batk (365), ​Batak
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Batak
ช่วงยูนิโคด
U+1BC0-U+1BFF
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

อักษรบาตัก (อังกฤษ: Batak script; มีชื่อในภาษาแม่ว่า ซูรัตบาตัก (surat Batak), surat na sampulu sia ("ตัวอักษร 19 ตัว") หรือ si-sia-sia) เป็นระบบการเขียนในอดีตของกลุ่มภาษาบาตักที่มีผู้พูดหลายล้านคนที่เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ตัวอักษรอาจพัฒนามาจากอักษรกวิและอักษรปัลลวะ ซึ่งมีที่มาจากอักษรพราหมีในอินเดีย หรือจากข้อสันนิษฐานอักษรสุมาตราดั้งเดิมที่ได้รับอิทธิพลจากอักษรปัลลวะ[1]

การใช้

[แก้]

อักษรบาตักถูกนำมาใช้ในภาษาต่าง ๆ ดังนี้

  • ภาษากาโร บาตัก เป็นภาษาตระกูลออสตีนีเซียน มีผู้พูด 600,000 คน ในภาคกลางและภาคเหนือของเกาะสุมาตรา
  • ภาษาโตบา บาตัก (Toba Batak syllabic alphabet) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูด 2 ล้านคนทางเหนือของเกาะสุมาตรา
  • ภาษาไดรี บาตัก (Dairi Batak syllabic alphabet) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูด 1.2 ล้านคน ทางเหนือของเกาะสุมาตรา
  • ภาษาซิมาลูงัน/ตีมูร์ (Simalungun/Timur syllabic alphabet) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซีย มีผู้พูด 800,000 คน ทางเหนือของสุมาตรา
  • ภาษามันดาลิง บาตัก (Mandaling Batak syllabic alphabet) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผุ้พูด 400,000 คน ทางเหนือของเกาะสุมาตรา
  • บางโอกาสใช้เขียนภาษามลายูด้วย

ประวัติ

[แก้]

ชาวบาตัดส่วนใหญ่ โดยเฉพาะชนชั้นปกครองสามารถใช้อักษรบาตักได้ ส่วนใหญ่ใช้เขียนคาถาอาคมและปฏิทิน หลังจากที่ชาวยุโรปมาถึงบาตัก เริ่มจากมิชชันนารีชาวเยอรมัน และชาวดัทช์ใน พ.ศ. 2421 ได้นำอักษรละตินมาใช้คู่กับอักษรบาตัก โดยใช้สอนในโรงเรียน และใช้ในเอกสารทางศาสนาคริสต์

จุดกำเนิด

[แก้]

คาดว่าอักษรบาตักพัฒนามาจากอักษรปัลลวะและอักษรกวิโบราณ ที่เป็นลูกหลานของอักษรพราหมี

ลักษณะอักษร

[แก้]

อักษรบาตักเขียนจากบนลงล่างและจากซ้ายไปขวา พยัญชนะมีพื้นเสียงเป็น /a/ และมีเครื่องหมายกำกับถ้าไม่มีเสียงสระ เสียงสระอื่น เสียงตัวสะกด เสียงตัวสะกด ŋ และ[x] แสดงด้วยเครื่องหมายบน ล่าง หรือหลังพยัญชนะ เช่น ba เขียนด้วยอักษร ba ตัวเดียว bi เขียนเป็น ba.i bang เขียนเป็น baŋ bing เขียนเป็น baŋ.i อักษรที่เป็นตัวสะกดจะมีเครื่องหมายต่อท้าย เช่น bam เขียนเป็น ba.ma.# bim เขียนเป็น ba.ma.i.# อักษรบาตักต่างจากอักษรในตระกูลอักษรพราหมีคือไม่มีการเชื่อมพยัญชนะเมื่อเขียนเป็นกลุ่ม

อักษร

[แก้]

ตัวอักษรพื้นฐานมีชื่อว่า ซูรัต แต่ละพยัญชนะจะมีเสียงสระโดยธรรมชาติเป็น /a/ ตัวอักษรมีหลายแบบตามภูมิภาคและภาษา โดยรูปแบบหลัก ๆ คือ กาโร, มันไดลิง, ปักปัก/ไดรี, ซีมาลูงุน/ตีมูร์ และ โตบา:

ซูรัต (อักษรพื้นฐาน)
สัทอักษรสากล a ha ka ba pa na wa ga dʒa da ra ma ta sa ja ŋa la ɲa tʃa nda mba i u
ถอดเป็นอักษรละติน a ha ka ba pa na wa ga ja da ra ma ta sa ya nga la nya ca nda mba i u
กาโร A Ha Ka Ba Pa Na1 Wa Ga Ja Da Ra Ma Ta Sa Ya Nga La Ca5 I I
มันไดลิง A Ha Ka Ba Pa Wa Ga Ra Ma Ta Sa4 Ya La Nya Ca
ปักปัก A Ha Ka Ba Pa Wa Ga Ra Ma Ta Sa Ya La Ca
โตบา A Ha Ka Ba Pa Wa2 Ga Ra Ma Ta3 Sa Ya La Nya
ซีมาลูงุน A Ha Ka Ba Pa Wa Ga Ra Ma Ta Sa Ya La Nya Nda Mba6

รูปอื่น:
^1 Na (ใช้ในแบบมันไดลิง) ^2 Wa ^3 Ta ^4 Sa ^5 Ca ^6 Mba

เครื่องหมายสระ

[แก้]
ถอดเป็นอักษรละติน เครื่องหมายอักษรบาตัก      ถอดเป็นอักษรละติน เกาะอักษร/ka/
กาโร มันไดฯ ไดรี ซิมาฯ โตบา กาโร มันไดฯ ไดรี ซิมาฯ โตบา
-a ka Ka Ka Ka Ka Ka
-e -E
-E
-E -E
-E
-E -E ke Ke
Ke
Ke Ke
Ke
Ke Ke
-i -I
-I
-I -I -I -I ki Ki
Ki
Ki Ki Ki Ki
-o -O
-O
-O -O -O -O ko Ko
Ko
Ko Ko Ko Ko
-ou -Ou kou Kou
-u -U -U -U -U -U ku Ku Ku Ku Ku Ku
-ng -Ng -Ng -Ng -Ng -Ng kang Kang Kang Kang Kang Kang
-h -H -H -H kah Kah Kah Kah
- - - - - k K K K K K

การเชื่อมต่อกับเครื่องหมายเสียงสระอู

[แก้]
อักษรบาตัก อธิบาย
A  + -U A  a + -u = u
A  + -U U a + -u = u (ซีมาลูงุน)
Ha  + -U Hu  ha + -u = hu (มันไดลิง)
Ha  + -U Hu  ha + -u = hu (ซีมาลูงุน)
Ha  + -U Hu  ha + -u = hu
Ka  + -U Ku  ka + -u = ku (มันไดลิง)
Ba  + -U Bu  ba + -u = bu
P  + -U Pu  pa + -u = pu (มันไดลิง)
Pa  + -U Pu  pa + -u = pu (ปักปัก, โตบา)
Pa  + -U Pu  pa + -u = pu (ซีมาลูงุน)
Na  + -U Nu  na + -u = nu
Na  + -U Nu  na + -u = nu (มันไดลิง)
Wa  + -U Wu  wa + -u = wu (มันไดลิง, โตบา)
Wa  + -U Wu  wa + -u = wu (ปักปัก, โตบา)
Wa  + -U Wu  wa + -u = wu (ซีมาลูงุน)
Ga  + -U Gu  ga + -u = gu
Ga  + -U Gu  ga + -u = gu (ซีมาลูงุน)
Ja  + -U Ju  ja + -u = ju
อักษรบาตัก อธิบาย
Da  + -U Du  da + -u = du
Ra  + -U Ru  ra + -u = ru
Ra  + -U Ru  ra + -u = ru (ซีมาลูงุน)
Ma  + -U Mu  ma + -u = mu
Ma  + -U Mu  ma + -u = mu (ซีมาลูงุน)
Ta  + -U Tu  ta + -u = tu
Ta  + -U Tu  ta + -u = tu
Sa  + -U Su  sa + -u = su (Pakpak)
Sa  + -U Su  sa + -u = su (มันไดลิง)
Sa  + -U Su  sa + -u = su (มันไดลิง)
Sa  + -U Su  sa + -u = su (ซีมาลูงุน)
Ya  + -U Yu  ya + -u = yu
Ya  + -U Yu  ya + -u = yu (ซีมาลูงุน)
Nga  + -U Ngu  nga + -u = ngu
La  + -U Lu  la + -u = lu
La  + -U Lu  la + -u = lu (ซีมาลูงุน)
Nya  + -U Nyu  nya + -u = nyu
Ca  + -U Cu  ca + -u = cu (มันไดลิง)

ตมปี

[แก้]

เครื่องหมายตมปีใช้เปลี่ยนเสียงของอักษรบางตัว

ha  + tompi ka sa  + tompi ca
Ha  + tompi A  Ha  + tompi A 
Ha  + tompi A  Ha  + tompi A 
Ha  + tompi A  Ha  + tompi A 

เครื่องหมายสำหรับ Ng และ H

[แก้]

เครื่องหมายสำหรับ Ng (-Ng) และ H (-H) ใช้เขียนเหนือเครื่องหมายแทนที่จะเขียนบนอักษรหลัก
ตัวอย่าง: Ping ping, Pong pong, Peh peh, และ Pih pih.

เครื่องหมายสำหรับพยางค์ปิด

[แก้]

ในพยางค์ปิดเครื่องหมายสระเขียนไว้ท้ายสุด

ta  +  vowel  +  pa  +  pangolat  =  syllable
Ta + Pa + pangolat = Tap
ta + pa + pangolat = tap
Ta + -E + Pa + pangolat = Tep
ta + e + pa + pangolat = tep
Ta + -E + Pa + pangolat = Tep
ta + e + pa + pangolat = tep
Ta + -I + Pa + pangolat = Tip
ta + i + pa + pangolat = tip
Ta + -O + Pa + pangolat = Top
ta + o + pa + pangolat = top
Ta + -U + Pa + pangolat = Tup
ta + u + pa + pangolat = tup

ยูนิโคด

[แก้]
บาตัก
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+1BCx
U+1BDx
U+1BEx
U+1BFx                 ᯿


อ้างอิง

[แก้]
  1. Uli Kozok. "Sejarah Aksara Batak". สืบค้นเมื่อ 17 May 2014.

ข้อมูล

[แก้]
  • Kozok, Uli (January 2009). Surat Batak: Sejarah Perkembangan Tulisan Batak : Berikut Pedoman Menulis Aksara Batak Dan Cap Si Singamangaraja XII (ภาษาอินโดนีเซีย). Jakarta: Gramedia. ISBN 978-979-9101-53-2.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]